Skip Content
ไทย / อังกฤษ

ขณะนี้คุณอยู่ที่ | หน้าแรก | ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ - ๒ | จิรภา นิวาตพันธุ์, อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล และ ฟิลิปป์ ดิลล์

วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ - ๒ มกราคม / มิถุนายน ๒๕๕๓


บทความวิจัย : ลักษณนามภาษามือไทย: ท่ามือเดี่ยว ท่ามือสองมือคู่ขนาน และท่ามือสองมือแตกต่าง

ผู้วิจัย : จิรภา นิวาตพันธุ์, อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล และ ฟิลิปป์ ดิลล์

E-mail : fhumalt@ku.ac.th และ pdill@kastanet.org

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาลักษณนามภาษามือไทยตามลักษณะโครงสร้างของวากยสัมพันธ์และจัดประเภทลักษณนามภาษามือไทยตามแนวการจัดประเภทลักษณนามสากลประเภทต่างๆของ Aikenvald (2003) ตลอดจนศึกษาลักษณนามสามกลุ่ม จำแนกตามการใช้ท่ามือ: แบบท่ามือเดี่ยว ท่ามือสองมือคู่ขนาน และท่ามือสองมือแตกต่าง ผลการศึกษาให้ความกระจ่างในคุณลักษณะ ประเภท ขอบข่ายของคำนามที่ครอบคลุม และโครงสร้างวากยสัมพันธ์ของลักษณนามภาษามือไทย ซึ่งจะช่วยเสริมการสื่อสารระหว่างคนหูหนวกและคนหูดีให้สัมฤทธิ์ผลมากยิ่งขึ้น

Abstract

This paper studies Thai Sign Language classifiers in their syntactic environments and categorizes the classifiers according to the classifier types proposed by Aikenvald (2003) for world languages. It further studies the three kinds of classifiers arranged by the use of hand shapes; single hand shape, two parallel hand shapes and two different hand shapes. The results enhance the understanding of the properties, types, ranges of referent nouns and syntactic environments of Thai Sign Language classifiers, which will help facilitate the communication between the Deaf and hearing people.


คำสาคัญ: ลักษณนามภาษามือไทย/ ท่ามือลักษณนาม/ ประเภทของลักษณนาม/
โครงสร้างวากยสัมพันธ์ของลักษณนาม/ ภาษามือไทย
Thai Sign Language classifiers/ Classifier hand shapes/ Classifier types/
Syntactic environments of classifiers/ Thai Sign Language

วารสารฉบับเต็ม :ดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็ม ภาพ icon เพื่อให้ทราบว่าเป็นไฟล์ PDF

menu-thai

* ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารเป็นของผู้เขียนบทความ และมิได้แสดงว่า กองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยราชสุดาและ คณะผู้จัดทำเห็นด้วยทั้งหมด